
ข้อมูลสภาพการณ์ความเสี่ยง (Risk Profile) จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัด
การวิเคราะห์ห่วงโซ่ผลกระทบ (Impact Chain Analysis)

ตารางความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขา
ตารางแสดงความเสี่ยงและแผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรายสาขาทั้งหมด
โครงการ / เรื่อง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() ด้านที่ 1 |
![]() ด้านที่ 2 |
![]() ด้านที่ 3 |
![]() ด้านที่ 4 |
![]() ด้านที่ 5 |
![]() ด้านที่ 6 |
จัดการ | |
1. ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทาการเกษตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาการจัดการระบบปศุสัตว์และการผลิตสินค้าจากปศุสัตว์ให้สอดคล้องกับแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. พัฒนาระบบข้อมูลเตือนภัยล่วงหน้า (Early warning system) ทางการเกษตร ที่มีความแม่นยำ เข้าถึงง่าย ทันต่อเหตุการณ์ และสามารถเชื่อมโยงกับระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างสมบูรณ์ เช่น ระบบเตือนภัยเกี่ยวกับระดับน้ำภัยแล้ง น้าท่วม ระบบการพยากรณ์สภาพอากาศ และการเตือนภัยโรคและแมลงศัตรูพืช |
ดูข้อมูล | ||||||
4. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ำใต้ดินร่วมกับการใช้น้ำผิวดินในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง ตามศักยภาพของลุ่มน้ำ โดยพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีผลต่อปริมาณน้ำฝนและปริมาณน้ำท่า ควบคู่กับการกาหนดสัดส่วนการใช้น้ำในกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งพิจารณาถึงการรักษาสมดุลทางนิเวศวิทยาด้านท้ายน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
1. ส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเสื่อมโทรมของดิน เพื่อเพิ่มผลผลิตต่อหน่วย เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร และสามารถนาพื้นที่มาใช้ประโยชน์ทางเกษตรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
ดูข้อมูล | ||||||
2. พัฒนาและปรับปรุงการจัดการน้ำของพื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทานที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้งให้มีประสิทธิภาพ โดยการบูรณาการการจัดการน้ำในภาคเกษตรร่วมกับภาคส่วนอื่น ในการกาหนดกรอบการใช้ประโยชน์จากน้ำ และลดปัญหาการแย่งชิงน้ำ |
ดูข้อมูล | ||||||
3. พัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานให้มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการใช้การเพาะปลูกและการทาปศุสัตว์ เช่น การปรับปรุงระบบสารองน้ำฝน การพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กในไร่นา |
ดูข้อมูล | ||||||
4. การส่งเสริมการทานาเปียกสลับแห้ง “ข้าวรักษ์โลก” นาแห้ง 1 ที ได้ “ดี” 5 อย่าง ลดปริมาณการใช้น้ำในนาข้าว หมุนเวียนการใช้น้ำ ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น ลดการระบาดของแมลงศัตรูพืช ทาให้ใช้สารเคมีลดลง ทาให้ลดต้นทุนจากการผลิต มีรายได้เพิ่มขึ้นจากผลผลิตที่เพิ่มขึ้น โดยมีมาตรการ |
ดูข้อมูล |
